บทความ
การแสดงมหรสพสมโภช เนื่องในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ
การถวายพระเพลิงพระบรมศพแต่ครั้งโบราณจัดเป็นงานใหญ่ มีมหรสพสมโภชงานออกพระเมรุพระบรมอัฐิเป็นแบบแผนสืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีเพื่อให้ประชาชน และถือว่าเป็นงานออกทุกข์ในเวลาเดียวกัน ทั้งยังถือเสมือนเป็นการแสดงพระกฤดาธิการของพระมหากษัตริย์
๑๓ กันยายน ๒๕๖๐
ดอกไม้จันทน์ถวายพระเพลิงพระบรมศพ
กรุงเทพมหานคร เตรียมจัดทำซุ้มถวายดอกไม้จันทน์ทั่วพื้นที่ จำนวน ๑๐๑ ซุ้ม เตรียมดอกไม้จันทน์ จำนวน ๓ ล้านดอกเพื่อแจกจ่ายให้แก่ประชาชน โดยซุ้มต่าง ๆ แบ่งเป็นซุ้มขนาดใหญ่ ๑๖ ซุ้ม
๑๐ เมษายน ๒๕๖๐
การแต่งกายที่เหมาะสมเพื่อเข้าถวายบังคมพระบรมศพ
การแต่งกายของประชาชนที่จะเข้าถวายบังคมพระบรมศพต้องแต่งกายสุภาพ ซึ่งทางกระทรวงวัฒนธรรม โดยสำนักเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม จัดทีม "สายตรวจวัฒนธรรม" เดินเท้าลงไปให้คำแนะนำในเรื่องการแต่งกายให้มีความสุภาพ ถูกต้อง เหมาะสม
๑๕ มีนาคม ๒๕๖๐
การปรับพื้นที่สร้างพระเมรุมาศและย้ายต้นมะขามสนามหลวง
การล้อมต้นมะขามเพื่ออนุบาลไว้ก่อนที่จะเคลื่อนย้ายต้นมะขามไปพักไว้จุดอื่น เพื่อเปิดพื้นที่ในการก่อสร้างพระเมรุมาศ หลังจากเสร็จพระราชพิธีก็จะนำกลับมาปลูกไว้ที่จุดเดิม
๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
รับสมัครอาสาสมัคร "รุกขกร”
จัดอบรมอาสาสมัคร "รุกขกร” เพื่อดูแลต้นมะขามรอบบริเวณสนามหลวง เนื่องจากต้นมะขามนั้นถือเป็นสัญลักษณ์ที่อยู่คู่สนามหลวงมาอย่างยาวนาน
๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
การจัดสร้างพระเมรุมาศตามคติความเชื่อโบราณ
กษัตริย์เปรียบเสมือนสมมติเทพ เมื่อกษัตริย์สวรรคต ดวงวิญญาณจะเสด็จกลับสรวงสวรรค์ไปอยู่กับทวยเทพ การจัดสร้างพระเมรุมาศจึงเป็นสถาปัตยกรรมที่จำลองภูมิจักรวาลตามความเชื่อโบราณ โดยพระเมรุมาศเปรียบเสมือน “เขาพระสุเมรุ” อันเป็นศูนย์กลางจักรวาล
๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
รับสมัครจิตอาสา
การทำงานเป็นจิตอาสา ถือเป็นการให้ที่เราไม่ต้องเสียเงิน แต่กลับได้รับสิ่งดีกลับคืนมา
๐๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
วัดพระราม ๙ วัดของในหลวงเพื่อเป็นปอดของคนกรุงเทพฯ
วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นศูนย์รวมจิตใจกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม จึงโปรดให้สร้างด้วยความเรียบง่าย ประหยัดตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙
Top